ผู้ที่จะยื่นคำขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องจบวิศวกรรมศาสตร์ในหลักสูตรที่มีการรับรองแล้ว ดังนั้น ขอให้นิสิต/นักศึกษา ที่จะขอรับใบอนุญาตฯ ตรวจสอบหลักสูตรก่อนเข้ารับการศึกษา
ตรวจสอบหลักสูตร
ครูคำรณเทคนิคกาญจน์
วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
การออกแบบฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก (DESIGN OF CONCRETE FOOTING)
การออกแบบฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก (Design of Concrete Footing)เมื่อพูดถึงฐานรากของโครงสร้าง เราก็จะนึกถึงชิ้นส่วนของสิ่งก่อสร้างชิ้นหนึ่ง ที่วางอยู่ในพื้นดิน บางอันก็วางบนดินโดยตรง บางอันก็วางอยู่บนวัตถุแท่งสี่เหลี่ยมบ้าง กลมบ้าง หรือรูปทรงเรขาคณิตอื่นๆ บ้าง ซึ่งจะทำหน้าที่รองรับน้ำหนักของโครงสร้างทั้งหมดของอาคารเพื่อส่งต่อให้กันชั้นดินด้านล่าง แต่ทำไมเราไม่ใช้แบบใดแบบหนึ่งล่ะ? นั่นก็เพราะชั้นดินในแต่ละพื้นที่นั้น มีความสามารถในการรองรับน้ำหนักบรรทุกได้แตกต่างกันนั่นเอง ดังนั้นเราจึงต้องเลือกใช้ฐานรากให้เหมาะสมกับลักษณะของชั้นดินในบริเวณนั้นๆด้วย เพื่อความมีเสถียรภาพของโครงสร้างและประหยัดค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง ฐานรากโดยทั่วไปที่เราพบเห็นอยู่เป็นประจำในชีวิตประจำวันก็สามารถจำแนกได้หลายประเภท ตามลักษณะการก่อสร้าง แต่เราสามารถแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คือ
ประวัติส่วนตัว
วัน เดือน ปีเกิด 20 ตุลาคม 2518
ประวัติการศึกษา
ระดับมัธยมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนลาดหญ้าพิทยาคม พ.ศ.2533
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างก่อสร้าง
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี พ.ศ. 2536
ระดับอนุปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชา ช่างโยธา
วิทยาลัยเทคนิคดุสิต พ.ศ.2538
ระดับปริญญา ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง สาขาวิชาโยธา วิชาเอก ก่อสร้าง
วิทยาลัยเทคนิคดุสิต พ.ศ.2540
วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น พ.ศ.2552
ระดับปริญญาโท ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ.2550
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2554
ประวัติการทำงาน ครูชำนาญการ แผนกวิชาช่างก่อสร้าง
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี พ.ศ. 2541 - 2555
สอนวิชา ทฤษฎีโครงสร้าง,วิเคราะห์โครงสร้าง,กลศาสตร์โครงสร้าง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)